Verb คือ กริยาแบ่งออกเป็นแบบต่างๆ
1. Verb Transitive (Vt) สกรรมกริยา คือ กริยาต้องการกรรมมารับเพื่อให้ความหมายสมบูรณ์
2. Verb Intransitive (Vi) อกรรมกริยา คือ กริยาไม่ต้องการกรรมมารับ มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง
Verb Transitive
|
Verb Intransitive
|
||
See
|
เห็น, ดู
|
Go
|
ไป
|
Hear
|
ได้ยิน, ฟัง
|
Come
|
มา
|
Eat
|
กิน
|
Walk
|
เดิน
|
Drink
|
ดื่ม
|
Stand
|
ยืน
|
Learn
|
เรียน
|
Lie
|
นอน
|
|
|
Live
|
อาศัย
|
ตัวอย่างประโยคมีและไม่มีกรรมมารับ
ประธาน
(Subject) |
กริยา
(Verb) |
กรรม
(Object) |
กริยาวิเศษณ์วลี
(Adverbial) |
I
|
Wrote
|
The letter
|
In the classroom
|
She
|
Came
|
—————
|
Here
|
He
|
Phoned
|
Me
|
In the evening
|
They
|
Worked
|
————–
|
Last week
|
2. Verb แบ่งตามฟอร์มหรือแบบ
1. Regular Form กริยารูปปกติ เมื่อเป็นอดีตเติม –ed ตามปกติ
2. Irregular Form กริยามีรูปอปกติ เมื่อเป็นอดีตไม่เติม –ed แต่มีการเปลี่ยนรูปหรือคงรูปไว้อย่างเดิม
Regular Form เติม ed
Present
|
Past
|
Past Participle
|
Mean
|
Walk
|
Walked
|
Walked
|
เดิน
|
Like
|
Liked
|
Liked
|
ชอบ
|
Stop
|
Stopped
|
Stopped
|
หยุด
|
Cry
|
Cried
|
Cried
|
ร้องไห้
|
Laugh
|
Laughed
|
Laughed
|
หัวเราะ
|
Irregular Form ไม่เติม ed
Present
|
Past
|
Past Participle
|
Mean
|
Bring
|
Brought
|
Brought
|
นำมา
|
Take
|
Took
|
Taken
|
นำไป
|
Eat
|
Ate
|
Eaten
|
กิน
|
Drink
|
Drank
|
Drunk
|
ดื่ม
|
Hit
|
Hit
|
Hit
|
ตี, ต่อย
|
Let
|
Let
|
Let
|
อนุญาต
|
3. Verb แบ่งตามความเคลื่อนไหว
1. Dynamic Verb กริยาว่าด้วยการเคลื่อนไหว กริยาประเภทเติม –ing ได้
2. Stative Verb กริยาว่าด้วยการคงที่ กริยาประเภทนี้เติม –ing ไม่ได้
2.1 Dynamic Verb กริยาที่เติม –ing ได้ มี 5 ชนิด
2.1.1 Activity Verb กริยาว่าด้วยกิจกรรม เช่น
Ask
|
ถาม
|
Eat
|
กิน
|
Look at
|
มองดู
|
Beg
|
ขอ
|
Listen
|
ฟัง
|
Read
|
อ่าน
|
Call
|
เรียก
|
Rain
|
ฝนตก
|
Throw
|
ขว้าง
|
Drink
|
ดื่ม
|
Slice
|
ตัด
|
Write
|
เขียน
|
Work
|
ทำงาน
|
Help
|
ช่วยเหลือ
|
Play
|
เล่น
|
Say
|
พูด
|
Whisper
|
กระซิบ
|
Learn
|
เรียน
|
2.1.2 Process Verb กริยาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
Change
|
เปลี่ยนแปลง
|
Mature
|
ทำให้สุก
|
Deteriorate
|
ทำให้เสีย
|
Show down
|
ลดลง
|
Grow
|
เจริญเติบโต
|
Widen
|
ทำให้กว้าง
|
อาจเติมหรือไม่เติม ing ก็ได้ เช่น
Ache
|
ปวด
|
Feel
|
รู้สึก
|
Hurt
|
บาดเจ็บ
|
Itch
|
คัน
|
2.1.4 Transitional Event Verbs กริยาว่าด้วยเหตุการณ์หนึ่งเปลี่ยนไปสู่เหตุการณ์อื่น
Arrive
|
เดินทาง
|
Land
|
ลงสู่พื้นดิน
|
Die
|
ตาย
|
Leave
|
จากไป
|
Fall
|
ตก
|
Lose
|
สูญ, หาย
|
2.1.5 Momentary Verb กริยาว่าด้วยการใช้เวลาเพียงชั่วขณะ
Hit
|
ตี
|
Nod
|
พยักหน้า
|
Jump
|
กระโดด
|
Top
|
สูงกว่า
|
Knock
|
เคาะ
|
Applaud
|
ปรบมือ
|
2. Stative Verb กริยาที่ไม่เติม –ing มีสองแบบ
1. Verbs of Inner Perception กริยาว่าด้วยการรับความรู้สึกทางจิตใจ
Abhor
|
ขยะแขยง
|
Forgive
|
ยกโทษ
|
Adore
|
ยกย่องบูชา
|
Guess
|
เดา, ทาย
|
Astonish
|
ทำให้พิศวง
|
Hate
|
เกลียด, ชัง
|
Desire
|
ต้องการ
|
Intend
|
ตั้งใจ
|
Dislike
|
ไม่ชอบ
|
Know
|
รู้
|
Feel
|
รู้สึก
|
Like
|
ชอบ
|
Mean
|
ตั้งใจ
|
Love
|
รัก
|
Mind
|
รังเกียจ
|
Regard
|
พิจารณา, เอาใจใส่
|
Perceive
|
แลเห็น
|
Remember
|
ระลึก, จำ
|
Please
|
ยินดี
|
Satisfy
|
ประทับใจ
|
Prefer
|
ชอบมากกว่า
|
See
|
เห็น
|
Presuppose
|
คาดคะเนล่วงหน้า
|
Smell
|
ดมกลิ่น
|
Realize
|
ตระหนัก
|
Suppose
|
สมมุติ
|
Recall
|
เรียกกลับ
|
Taste
|
ชิมรส
|
Recognize
|
จำได้
|
Think
|
คิด
|
Want
|
ต้องการ
|
|
|
2. Relational Verbs กริยา
Apply to
|
ประยุกต์ใช้
|
Include
|
รวมทั้ง
|
Be
|
เป็น อยู่ คือ
|
Involve
|
พัวพัน
|
Belong to
|
เป็นของ
|
Lack
|
ขาด
|
Concern
|
เกี่ยวข้อง
|
Matter
|
มีความสำคัญ
|
Consist of
|
ประกอบด้วย
|
Need
|
ต้องการ
|
Contain
|
มี, บรรจุ
|
Owe
|
เป็นหนี้
|
Cost
|
มีค่า
|
Own
|
เป็นเจ้าของ
|
Depend on
|
อาศัย
|
Possess
|
เป็นเจ้าของ
|
Deserve
|
สมควร
|
Remain
|
คงเหลือ
|
Equal
|
เท่าเทียมกัน
|
Require
|
ต้องการ
|
Fit
|
พอเหมาะ
|
Seem
|
ดูเหมือน
|
Have
|
มี
|
Suffice
|
เพียงพอ
|
วิธีสังเกตง่ายๆ กริยาตัวใดเติม –ing ได้หรือไม่ จงตรวจดูในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ กริยาตัวใดเติม –ing ไม่ได้ เมื่อต้องการจะผันกริยาให้เป็นนาม พจนานุกรมได้แสดงคำนามไว้ เช่น think “คิด” เป็นกริยา จะมีคำว่า thought “ความคิด” เป็นนาม แสดงว่า think เติม –ing ไม่ได้ ถ้ากริยาตัวใดเติม –ing ได้ พจนานุกรมไม่แสดงคำนามไว้ เมื่อเป็นเช่นนี้เราสามารถเติม –ing ให้กับกริยา เพื่อนำไปใช้เป็นคุณศัพท์ หรือนำไปใช้ในประโยคที่กำลังกระทำอยู่ (Progressive Tense หรือ Continuous Tense) ได้เลย
4. Verb แบ่งตามหน้าที่ (Function) มี 2 ชนิด
1. Auxiliary กริยาช่วย มี 2 ประเภท
1.1 Tense Auxiliary กริยาช่วยที่มีกาล ไม่มีความหมายในภาษาไทย มีดังนี้
กริยาช่วย be ประกอบด้วย is/am/are/was/were
ใช้กับกริยาที่เติม ing ในประโยค Continuous Tense เช่น
She is eating fruit.
เธอกำลังทานมะม่วง
ใช้กับประโยคกรรมวาจก (passive Voice)
This house is built by John.
บ้านหลังนี้สร้างขึ้นโดยจอห์น
กริยาช่วย have ประกอบด้วย have/has/had
ใช้กับประโยคที่มีกาลสมบูรณ์ (perfect Tense)
John has learnt Thai since 1990.
จอห์นเรียนภาษาไทย ตั้งแต่ ค.ศ. 1990
กริยาช่วย do ประกอบด้วย do/does/did ใช้กับประโยคปฏิเสธและคำถาม
ประโยคปฏิเสธปัจจุบัน
|
I don’t like your new car.
ฉันไม่ชอบรถคันใหม่ของคุณ |
ประโยคคำถามปัจจุบัน
|
Do you have any money?
คุณมีเงินบ้างไหม |
ประโยคคำถามอดีต
|
Did she go to see movies last night?
เมื่อคืนที่แล้วเธอไปดูหนังหรือ |
1.2 Modal Auxiliaries กริยาว่าด้วยการแสดงอารมณ์ (Mood) หลากหลาย กริยาช่วยประเภทนี้ สามารถแปลความหมายได้ แม้จะมีรูปเป็นอดีตแต่ไม่นิยมใช้ในเรื่องที่เป็นอดีต มักใช้กับเรื่องที่เป็นปัจจุบันหรืออนาคต
Present
|
Past
|
Mean
|
Shall
|
Should
|
จะ, ควร
|
Will
|
Would
|
จะ, เคย
|
Can
|
Could
|
สามารถ
|
Must
|
Had to
|
ต้อง
|
Has to
|
–
|
ต้อง
|
Have to
|
–
|
ต้อง
|
May
|
Might
|
อาจ, เป็นไปได้
|
2. Main Vebs กริยาหลัก ถือว่าเป็นกริยาสำคัญในประโยค จะตามหลังกริยาช่วยเสมอ
โปรดสังเกตตัวอย่างการใช้ตามตาราง
Subject
|
Auxiliary
Tense |
Auiliary
Modal |
Main Verb
|
Preposition
|
Object
|
John
|
Is
|
–
|
Travelling
|
To
|
Japan.
|
The carpenter
|
–
|
Can
|
Build
|
–
|
The house.
|
She
|
–
|
Must
|
Wait
|
For
|
You.
|
He
|
–
|
May
|
Walk
|
Past
|
The station.
|
They
|
Are
|
–
|
Living
|
In
|
The city.
|
Subject
|
Auxiliary
Tense |
Auxiliary
Modal |
Main Verb
|
Complement
|
Mary
|
–
|
Will
|
Be
|
A clerk.
|
Brown
|
Is
|
–
|
Being
|
A nuisance.
|
Tom
|
–
|
May
|
Have
|
A car.
|
That man
|
–
|
–
|
Was
|
A former minister.
|
5. Verb แบ่งตามความเป็นจริง
1. Finite Verb กริยาแท้ คือ กริยาหลักในประโยคนั่นเอง อาจเปลี่ยนรูปไปตามประธาน และเปลี่ยนไปตามกาล (Tense)
2. Non-finite Verb กริยาไม่แท้ เป็นกริยาที่มีรูปไม่สมบูรณ์ มันทำหน้าที่อย่างอื่นมากกว่าที่หน้าที่เป็นกริยา
ตัวอย่างประโยค
1. I sit watching television every Sunday.
2. He sits watching television every Sunday.
3. She sat watching television last Sunday.
4. They will sit watching television next Sunday.
Sit เป็น Finite Verb หรือกริยาแท้ ต้องเปลี่ยนไปตามประธานและกาลดังนี้
1. sit ไม่เติม s เพราะประธานเป็นบุรุษที่หนึ่ง
2. sits เติม s เพราะประธานเป็นบุรุษที่สามเอกพจน์
3. sit เปลี่ยนเป็น sat เพราะประโยคเป็นอดีตกาล
4. sit คงรูปเดิมเพราะตามหลังกริยาช่วย
Watching เป็น Non-finite Verb หรือกริยาไม่แท้
2. Non-finite Verb มี 3 ประเภทดังนี้
1. Infinite กริยามี to นำหน้า เช่น to do, to have, to be, to go
2. Participle เติม –ing เช่น calling, doing, having, being
3. Participle เติม –ed หรือ Participle ช่องที่สาม เช่น Called, walked, liked, gone, broken
ข้อเปรียบเทียบระหว่างกริยาแท้และไม่แท้
Finite Verb (กริยาแท้)
|
Non-finite Verb (กริยาไม่แท้)
|
1. He drinks heavily.
เขาดื่มอย่างหนัก |
To drink like that must be dangerous.
การดื่มอย่างนั้น ต้องมีอันตราย |
2 John is working hard.
จอห์นกำลังทำงานอย่างขยัน |
I found John working hard.
ฉันพบจอห์นกำลังทำงานอย่างขยัน |
3. After she had finished her education, She got a job.
หลังจากที่เธอสำเร็จการศึกษา เธอได้งานทำ
|
After having finished her education, she got a job.
หลังจากที่เธอสำเร็จการศึกษาเธอได้งานทำ |
1. ในประโยคแรก drinks ทำหน้าที่เป็นกริยาแท้ ในประโยคที่สอง to drink มาจาก infinitive กริยามี to นำหน้า ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค
2. ในประโยคแรก Working ทำหน้าที่เป็นกริยาหลัก ในประโยคที่สอง working มาจาก Participle กริยาเติม –ing ทำหน้าที่เป็นคุณศัพท์ (Adjective) ขยาย John
3. ในประโยคแรก finished ทำหน้าที่เป็นกริยาหลัก ในประโยคที่สอง finished มาจาก Participle กริยาเติม ed หรือ กริยาช่องที่สาม ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ขยายประโยคหลังทั้งประโยค