หน้าที่ของ Verb to do
ถาม : Verb to do ใช้ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นได้อย่างไรบ้าง?
ตอบ : Verb to do ได้แก่
do, does, did เมื่อนำมาใช้เป็นกริยาช่วย (Helping
Verb) ไม่มีสำเนียงแปลและเมื่อไปช่วยกริยาตัวใน Verb
ที่ตามหลัง do, does, did ไม่ต้องมี to นำหน้าเพราะเป็น Infinitive
Without “to” do, does ใช้กับการกระทำที่เป็นปัจจุบัน (แต่ต่างพจน์กัน) did
ใช้กับการกระทำที่เป็นอดีต
(ได้กับทุกพจน์ทุกบุรุษ) ซึ่งมีรายละเอียดของการใช้จ่ายหรือใช้จริงได้ดังต่อไปนี้)
do, does, did เมื่อนำมาใช้เป็นกริยาช่วย (Helping
Verb) ไม่มีสำเนียงแปลและเมื่อไปช่วยกริยาตัวใน Verb
ที่ตามหลัง do, does, did ไม่ต้องมี to นำหน้าเพราะเป็น Infinitive
Without “to” do, does ใช้กับการกระทำที่เป็นปัจจุบัน (แต่ต่างพจน์กัน) did
ใช้กับการกระทำที่เป็นอดีต
(ได้กับทุกพจน์ทุกบุรุษ) ซึ่งมีรายละเอียดของการใช้จ่ายหรือใช้จริงได้ดังต่อไปนี้)
1.
ช่วยทำประโยคบอกเล่า (Affirmative)
ให้เป็นประโยคคำถาม (Interrogative)
หรือ ประโยคปฏิเสธ (Negative)
ในกรณีที่ประโยคเหล่านั้นต้องตรงตามหลักทฤษฎีที่ว่า…
ช่วยทำประโยคบอกเล่า (Affirmative)
ให้เป็นประโยคคำถาม (Interrogative)
หรือ ประโยคปฏิเสธ (Negative)
ในกรณีที่ประโยคเหล่านั้นต้องตรงตามหลักทฤษฎีที่ว่า…
Verb to have ไม่มี
Verb to be ไม่อยู่
Verb to do มาช่วย
(หรือมี will,
would, shall, should, can, could, may, might, must, อยู่แล้วก็ไม่ต้องใช้
Verb to do มาช่วย) อาจารย์ครับ Verb
to do มี 3 ตัว
จะนำมาใช้ต่างกันอย่างไร ? อ้อ ! ใช้ต่างกันอย่างนี้
ท่องจำไว้นะจ๊ะ…
would, shall, should, can, could, may, might, must, อยู่แล้วก็ไม่ต้องใช้
Verb to do มาช่วย) อาจารย์ครับ Verb
to do มี 3 ตัว
จะนำมาใช้ต่างกันอย่างไร ? อ้อ ! ใช้ต่างกันอย่างนี้
ท่องจำไว้นะจ๊ะ…
เอกพจน์ ใช้ does
พหูพจน์ ใช้ do
I, they, we, you ใช้
do เหมือน กัน
do เหมือน กัน
กริยาสำคัญไม่ต้องเติม s
(ed, ing)
(ed, ing)
เช่น
ตัวอย่างการใช้ do
มาช่วย
มาช่วย
บอกเล่า :
Do speak French to your friend.
Do speak French to your friend.
คุณพูดภาษาฝรั่งเศสกับเพื่อนของคุณหรือ
(อย่าใช้ :
Are you speak French to your friend ?
Are you speak French to your friend ?
หรือ Speak
you French to your friend ?)
you French to your friend ?)
ปฏิเสธ :
You don’t ( หรือ do not ) speak French to your
friend.
You don’t ( หรือ do not ) speak French to your
friend.
คุณไม่พูดภาษาฝรั่งเศสกับเพื่อนของคุณ
(อย่าใช้ :
You aren’t (หรือ are not) speak French to your
friend.
You aren’t (หรือ are not) speak French to your
friend.
หรือ You
speak not ( หรือ not speak) French to your friend. เป็นอันขาดนะครับ)
speak not ( หรือ not speak) French to your friend. เป็นอันขาดนะครับ)
ตัวอย่างการใช้ does
มาช่วย
มาช่วย
บอกเล่า :
He opens the window by himself.
He opens the window by himself.
เขาเปิดหน้าต่างด้วยตัวเอง
คำถาม :
Does he open the window by himself ?
Does he open the window by himself ?
เขาเปิดหน้าต่างด้วยตัวเขาเองหรือ ?
(อย่าใช้ :
Is he opens the window by himself ?)
Is he opens the window by himself ?)
หรือ Opens
he the window by himself ?)
he the window by himself ?)
ปฏิเสธ :
He doesn’t (หรือ
does not ) open the window by himself.
He doesn’t (หรือ
does not ) open the window by himself.
เขาไม่ได้เปิดหน้าต่างด้วยตัวเอง
(อย่าใช้ :
He is not open the window by himself
He is not open the window by himself
หรือ He
opens not (หรือ not opens) the window by himself. เป็นอันขาด)
opens not (หรือ not opens) the window by himself. เป็นอันขาด)
ตัวอย่างการใช้ did
มาช่วย
มาช่วย
บอกเล่า :
She went to England last week.
She went to England last week.
หล่อนไปประเทศอังกฤษสัปดาห์ที่แล้ว
คำถาม :
Did she go to England last week ?
Did she go to England last week ?
หล่อนไปประเทศอังกฤษหรือสัปดาห์ที่ผ่านมา
?
?
(อย่าใช้ :
Was she went to England last week ?
Was she went to England last week ?
หรือ Did
she went to England last week ?
she went to England last week ?
ปฏิเสธ :
She didn’t (หรือ
did not ) go to England.
She didn’t (หรือ
did not ) go to England.
หล่อนไม่ได้ไปประเทศอังกฤษ
(อย่าใช้ :
She wasn’t went to England.
She wasn’t went to England.
หรือ She
went not (หรือ not went) to
England.)
went not (หรือ not went) to
England.)
2.
ใช้แทนกริยาตัวอื่นที่อยู่ในประโยคเดียวกัน
เพื่อต้องการมิให้ใช้กริยาตัวเดิมนั้นซ้ำๆ ซากๆ เช่น
ใช้แทนกริยาตัวอื่นที่อยู่ในประโยคเดียวกัน
เพื่อต้องการมิให้ใช้กริยาตัวเดิมนั้นซ้ำๆ ซากๆ เช่น
Billy likes badminton and so does Jenny.
บิลลี่ชอบแบดมินตันและเจนนี่ก็ชอบเหมือนกัน
You speak Thai and I do too.
คุณพูดไทยและผมก็เช่นกัน
She worked yesterday but I didn’t.
หล่อนทำงานเมื่อวานนี้ แต่ผมไม่ทำ
(Does, do, didn’t ทั้ง 3 คำไปแทนกริยา likes, speak, และ worked ตามลำดับ
ทั้งนี้เพื่อต้องการมิให้เอ่ยกริยา 3
คำนี้ซ้ำๆซากๆ)
ทั้งนี้เพื่อต้องการมิให้เอ่ยกริยา 3
คำนี้ซ้ำๆซากๆ)
3.
ใช้หนุนกริยาตัวอื่น
เพื่อให้เกิดความสำคัญกับกริยาตัวนั้นว่า จะต้องทำเช่นนั้นจริงๆ หรือเกิดขึ้นจริงๆ
โดยให้เรียงไว้หน้ากริยาที่มันไปหนุนอีกทีหนึ่ง เช่น
ใช้หนุนกริยาตัวอื่น
เพื่อให้เกิดความสำคัญกับกริยาตัวนั้นว่า จะต้องทำเช่นนั้นจริงๆ หรือเกิดขึ้นจริงๆ
โดยให้เรียงไว้หน้ากริยาที่มันไปหนุนอีกทีหนึ่ง เช่น
I do go and see you tomorrow.
ผมจะไปพบคุณให้ได้วันพรุ่งนี้
Danai does write to me.
ดนัยจะเขียนจดหมายถึงผมจริงๆ
They did live there two years ago.
เขาได้อยู่นั้นจริงๆ เมื่อ 2
ปีที่ผ่านมา
ปีที่ผ่านมา
Do come with us. ไปกับเราให้ได้น่ะ
(Do, does, did, และ do เรียงไว้หน้ากริยาใด
เน้นหรือหนุนกริยาตัวนั้นให้มีน้ำหนักการกระทำขึ้นมาจริงๆ)
เน้นหรือหนุนกริยาตัวนั้นให้มีน้ำหนักการกระทำขึ้นมาจริงๆ)
4.
ใช้แทนกริยาหลักในประโยคคำตอบแบบสั้นๆ
ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้นำเอากริยาหลักในประโยคคำถามนั้น
มากล่าวซ้ำในประโยคคำตอบ เช่น
ใช้แทนกริยาหลักในประโยคคำตอบแบบสั้นๆ
ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้นำเอากริยาหลักในประโยคคำถามนั้น
มากล่าวซ้ำในประโยคคำตอบ เช่น
Do you smoke a cigarette?
คุณสูบบุหรี่หรือ ?
Yes, I do. ครับผมสูบ
(อย่าใช้ :
Yes, I smoke a cigarette. ประเดี๋ยวเชยตาย)
Yes, I smoke a cigarette. ประเดี๋ยวเชยตาย)
Did he ride a bicycle to school?
เขาขี่จักรยานไปโรงเรียนหรือ?
Yes, he did.
ใช่ เขาขี่
ใช่ เขาขี่
(อย่าใช้ :
Yes, he rode a bicycle to school.)
Yes, he rode a bicycle to school.)
Does she draw a picture?
หล่อนวาดภาพหรือ?
Yes, she does.
ใช่หล่อนวาดภาพ
(อย่าใช้ :
Yes, she draws a pictures.)
Yes, she draws a pictures.)
5.
ใช้แทนกริยาหลักในประโยคทั้งที่เห็นด้วย
(agreement) หรือไม่เห็นด้วย (Disagreement) ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการนำเอากริยาหลักในประโยคนำกล่าวข้างหน้า
มาพูดอีกเป็นครั้งที่ 2 เช่น
ใช้แทนกริยาหลักในประโยคทั้งที่เห็นด้วย
(agreement) หรือไม่เห็นด้วย (Disagreement) ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการนำเอากริยาหลักในประโยคนำกล่าวข้างหน้า
มาพูดอีกเป็นครั้งที่ 2 เช่น
เห็นด้วย :
Tom speaks a lot.
Tom speaks a lot.
ทอมพูดมากจัง
Yes, he does.
ครับเขาพูดมาก
ไม่เห็นด้วย :
Your dog barks a lot.
Your dog barks a lot.
สุนัขของท่านเห่ามากเหลือเกิน
No, it doesn’t เปล่าไม่ได้เห่ามากหรอก
เห็นด้วย :
She sang well.
She sang well.
เธอร้องเพลงได้เพราะดี
Yes, she did.
ครับ เธอร้องได้เพราะ
ไม่เห็นด้วย :
You eat too much.
You eat too much.
คุณรับประทานมากเกินไป
No, I don’t
เปล่าผมไม่ได้ทานมากเลย
6.
Verb to do ถ้านำมาใช้อย่างกริยาหลัก
(Principal Verb) ทั่วๆไป มีสำเนียงแปลว่า “ทำ”
ดังนั้น เป็นคำถามหรือปฏิเสธต้องเอา Verb to do (ที่เป็นกริยาช่วย)
มาช่วย do (ที่เป็นกริยาแท้อีกทีหนึ่ง)
ตามหลักทฤษฎีที่ว่า…
เมื่อ Do แปลว่า “ทำ”
Verb to do ถ้านำมาใช้อย่างกริยาหลัก
(Principal Verb) ทั่วๆไป มีสำเนียงแปลว่า “ทำ”
ดังนั้น เป็นคำถามหรือปฏิเสธต้องเอา Verb to do (ที่เป็นกริยาช่วย)
มาช่วย do (ที่เป็นกริยาแท้อีกทีหนึ่ง)
ตามหลักทฤษฎีที่ว่า…
เมื่อ Do แปลว่า “ทำ”
จะต้องนำ do
มาช่วย
เพื่ออวยให้เป็นคำถามและปฏิเสธ
มาช่วย
เพื่ออวยให้เป็นคำถามและปฏิเสธ
บอกเล่า : You do your homework every day.
คุณทำการบ้านทุกๆวัน
คำถาม : Do you do your homework every
day?
day?
คุณทำการบ้านของคุณทุกๆวันหรือ?
(Do ตัวที่ 1 เป็นกริยาช่วย
มาช่วยให้เป็นคำถามไม่มีคำแปล do ตัวที่ 2 เป็นกริยาแท้ กริยาหลัก
จะเรียกอย่างไรได้ทั้งนั้น มีคำแปลว่า “ทำ”)
มาช่วยให้เป็นคำถามไม่มีคำแปล do ตัวที่ 2 เป็นกริยาแท้ กริยาหลัก
จะเรียกอย่างไรได้ทั้งนั้น มีคำแปลว่า “ทำ”)
ปฏิเสธ : You don’t do your homework every
day.
day.
คุณไม่ได้ทำการบ้านของคุณทุกๆวันหรอก
(do ตัวแรก
(ในคำว่า don’t นั่นแหละ) เป็นกริยาช่วย
มาช่วยให้เป็นประโยคปฏิเสธไม่มีคำแปล do ตัวหลังเป็นกริยาแท้
แปลว่า “ทำ” และสิ่งที่ควรระวังเป็นพิเศษก็คือ เมื่อทำเป็นคำถามหรือปฏิเสธ
อย่าได้นำเอา do ที่ปรากฏอยู่ในประโยคเหล่านั้นขึ้นไปไว้ต้นประโยคหรือเติม
not ลงข้างหลัง do เอาแบบมักง่ายอย่างนี้ไม่ได้เด็ดขาด
เช่น
(ในคำว่า don’t นั่นแหละ) เป็นกริยาช่วย
มาช่วยให้เป็นประโยคปฏิเสธไม่มีคำแปล do ตัวหลังเป็นกริยาแท้
แปลว่า “ทำ” และสิ่งที่ควรระวังเป็นพิเศษก็คือ เมื่อทำเป็นคำถามหรือปฏิเสธ
อย่าได้นำเอา do ที่ปรากฏอยู่ในประโยคเหล่านั้นขึ้นไปไว้ต้นประโยคหรือเติม
not ลงข้างหลัง do เอาแบบมักง่ายอย่างนี้ไม่ได้เด็ดขาด
เช่น
I do my work in Bangkok
(คำถาม) ผิด : Do I my work in Bangkok?
(ถูก : Do I do my work in Bangkok?)
(ปฏิเสธ) ผิด : I do not my work in Bangkok. (หรือ don’t)
(ถูก : I don’t (หรือ
do not) do my work in Bangkok.)
do not) do my work in Bangkok.)
บอกเล่า : Does she do her exercises?
หล่อนทำแบบฝึกหัดของหล่อนหรือ?
(อย่าใช้ : Does she her exercises? โดยการนำเอา does ที่เป็นกริยาขึ้นไปไว้ต้นประโยคหวังว่าคงเข้าใจแล้วน่ะครับ)
ปฏิเสธ : She doesn’t (หรือ does not) do her exercises.
หล่อนไม่ได้ทำแบบฝึกหัดของหล่อน
(อย่าใช้ : She does not her exercises)
ดูตารางนี้เทียบซิครับเมื่อ do
เป็นกริยาแท้
เป็นกริยาแท้
Affirmative
|
Interrogative
|
Negative
|
I
do. |
ถูก : Do I do?
ผิด : Do I ? |
ถูก : I do not (don’t) do.
ผิด : I do not (don’t). |
He
does. |
ถูก : Does he do?
ผิด : Does he? |
ถูก : He does not (doesn’t) do.
ผิด : He does not (doesn’t). |
They
did. |
ถูก : Did they do?
ผิด : Did they? |
ถูก : They did not (didn’t) do.
ผิด : They did not (didn’t). |
7.
ใช้แทนกริยาแท้ในประโยคคำถามที่เป็น
Question – tags เช่น
Edward lives here, doesn’t he?
เอดเวิดอาศัยอยู่ที่นี่ ไม่ใช่หรือ?
ใช้แทนกริยาแท้ในประโยคคำถามที่เป็น
Question – tags เช่น
Edward lives here, doesn’t he?
เอดเวิดอาศัยอยู่ที่นี่ ไม่ใช่หรือ?
(อย่าใช้ :
Edward lives here. Doesn’t he live here?)
Edward lives here. Doesn’t he live here?)
We don’t drink whisky, do we?
พวกเราไม่ดื่มสุรา ใช่ไหม?
(อย่าใช้ :
We don’t drink whisky, do we drink whisky?)
We don’t drink whisky, do we drink whisky?)
He ate rice, didn’t he?
เขาทานข้าว ไม่ใช่หรือ?
(อย่าใช้ :
He ate rice, didn’t he eat rice?)
He ate rice, didn’t he eat rice?)