เรียนภาษาอังกฤษ เรื่อง Word Building ตอน การใช้ Suffix ตอนที่ 1
ถาม : Suffix คืออะไร? แบ่งออกเป็นกี่ชนิดอะไรบ้าง? ให้อธิบายมาให้ละเอียด
ตอบ : Suffix แปลว่า “ปัจจัย” ได้แก่ “คำหรือพยางค์ที่เติมลงไปท้ายคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นเปลี่ยนชนิดไป” ยกตัวอย่างเช่น man เป็นคำนาม (noun) แปลว่า “ผู้ชาย” เมื่อเติม ly ลงไปที่ท้าย man เป็น manly ก็จะกลายเป็นคุณศัพท์ (Adjective) ไป แล้วก็จะแปลว่า “มีลักษณะสมเป็นชาย” ฉะนั้นจากตัวอย่างที่ยกมาให้ดูนี้จะเห็นว่า “คำที่เติม Suffix ลงไปนั้นไม่เปลี่ยนความหมาย แต่เปลี่ยนชนิดของคำ” (ส่วน prefix) เติมลงไปแล้วเปลี่ยนความหมาย แต่ไม่เปลี่ยนชนิดของคำ)
Suffix ในภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 3 จำพวกตาชนิดของคำที่เปลี่ยนไปอันเป็นผลจาก การเติม suffix แล้วนั้นคือ
1. ) Noun-Forming Suffixes ได้แก่ “ปัจจัยที่เติมท้ายคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นกลับกลายเป็นคำนามขึ้นมา” ได้แก่ปัจจัยต่อไปนี้
-Ment
|
-ee, -e
|
-ism, ist
|
-tion
|
-an, -n
|
-ty, -ity
|
-ation
|
-ant
|
-ness
|
-ition
|
-ent
|
-y, ery
|
-ification
|
-er, or
|
-ing
|
-sion
|
-ese
|
-dom
|
-al
|
-ess
|
-hood
|
-ance, -ence
|
-ure
|
-ship
|
-ment ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อทำกริยาตัวนั้นให้เป็นคำนาม และให้ออกเสียง “เมนท์” เบาๆ เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Amuse
|
ทำให้สนุกสนาน
|
Amusement
|
ความสนุกสนาน
|
Achieve
|
สัมฤทธิ์ผล
|
Achievement
|
ความสัมฤทธิ์ผล
|
Govern
|
ปกครอง
|
Government
|
การปกครอง, รัฐบาล
|
Argue
|
โต้แย้ง
|
Argument
|
การโต้แย้ง
|
Agree
|
เห็นด้วย
|
Agreement
|
ข้อตกลง
|
Develop
|
พัฒนา
|
Development
|
การพัฒนา
|
Etc.
|
|
Etc.
|
|
-tion ปัจจัยตัวนี้นิยมใช้เติมท้ายคำกริยาที่ออกเสียงเป็น “เอ” หรือ “อี” เพื่อทำให้เป็นคำนามและให้ออกเสียนงหนักที่พยางค์ก่อนหน้า –tion เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Violate
|
ฝ่าฝืน
|
Violation
|
การฝ่าฝืน
|
Complete
|
ทำให้สมบูรณ์
|
Completion
|
การทำให้สมบูรณ์
|
Appreciate
|
ชื่นชอบใน
|
Appreciation
|
ความชื่นชอบ
|
และอาจเติมที่ท้ายคำกริยาซึ่งออกเสียงอื่นนอกจาก “อี, เอ” ก็ได้ เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Attend
|
ตั้งใจ
|
Attention
|
ความตั้งใจ
|
Protect
|
ป้องกัน
|
Protection
|
การป้องกัน
|
Collect
|
สะสม
|
Collection
|
การสะสม
|
Produce
|
ผลิต
|
Production
|
การผลิต
|
Etc.
|
|
Etc.
|
|
-ation ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อทำให้เป็นคำนาม การออกเสียงก็ลงเสียงหนัก (Stress) พยางค์หน้า –ation เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Transport
|
ขนส่ง
|
Transportation
|
การขนส่ง
|
Adapt
|
ปรับให้เข้ากัน
|
Adaptation
|
การปรับเอามาใช้
|
Occupy
|
ยึดครอง
|
Occupation
|
การยึดครอง
|
Observe
|
เฝ้าดู
|
Observation
|
การเฝ้าดู
|
Expect
|
หวัง
|
Expectation
|
การคาดหวัง
|
Etc.
|
|
Etc.
|
|
-ition ใช้เติมท้ายคำกริยา เพื่อให้เป็นคำนาม และลงเสียงหนักที่พยางค์ก่อน –ition (คือลงเสียงหนักที่ “อี (i) เสมอ) เช่น :
Verb
|
|
Noun
|
|
Compete
|
แข่งขัน
|
Competition
|
การแข่งขัน
|
Expose
|
แสดง, เปิดเผย
|
Exposition
|
การแสดง
|
Repeat
|
ซ้ำ
|
Repetition
|
การกระทำซ้ำ
|
Etc.
|
|
Etc.
|
|
-ification ใช้เติมเฉพาะกริยาที่ลงท้ายด้วย –ify เมื่อเป็นคำนามจะได้รูปเป็น –ification และลงเสียงหนักที่พยางค์ก่อนหน้า –tion เสมอ เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Classify
|
แบ่งขั้น, จำแนก
|
Classification
|
การจำแนก
|
Beautify
|
ทำให้งาม
|
Beautification
|
การทำให้งาม
|
Amplify
|
ขยาย
|
Amplification
|
การขยาย
|
Etc.
|
|
Etc.
|
|
-sion ใช้เติมท้ายคำกริยา เพื่อให้เป็นคำนาม และกริยาตัวนั้นมักจะลงท้ายด้วย –de เสมอ การออกเสียงให้ลงเสียหนักที่พยางค์หน้า –sion เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Decide
|
ตัดสินใจ
|
Decision
|
การตัดสินใจ
|
Devide
|
แบ่ง, หาร
|
Devision
|
การแบ่ง, การหาร
|
Conclude
|
สรุป
|
Conclusion
|
การสรุป
|
Invade
|
รุกราน
|
Invasion
|
การรุกราน
|
หรืออาจลงท้ายด้วย –se, t ก็ได้ เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Revise
|
ทบทวน
|
Revision
|
การทบทวน
|
Permit
|
อนุญาต
|
Permission
|
การอนุญาต
|
Omit
|
ข้าม, เว้น
|
Omission
|
การเว้นข้าม
|
-al ใช้เติมท้ายคำกริยาที่ลงท้ายด้วย e, w, และ y เพื่อทำให้กริยานั้นเป็นคำนาม เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Arrive
|
มาถึง
|
Arrival
|
การมาถึง
|
Refuse
|
ปฏิเสธ
|
Refusal
|
การปฏิเสธ
|
Survive
|
รอดชีวิต
|
Survival
|
การมีชีวิตอยู่รอด
|
Withdraw
|
ถอน
|
Withdrawal
|
การถอน
|
Deny
|
ปฏิเสธ
|
Denial
|
การปฏิเสธ
|
Try
|
ทดลอง
|
Trial
|
การทดลอง
|
-ance, -ence ใช้เติมท้ายคำกริยา เพื่อให้เป็นคำนาม เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Resist
|
ต่อต้าน
|
Resistance
|
การต่อต้าน
|
Assist
|
ช่วยเหลือ
|
Assistance
|
การช่วยเหลือ
|
Differ
|
แตกต่าง
|
Difference
|
แตกต่างจาก
|
Depend
|
ขึ้นอยู่กับ
|
Dependence
|
การขึ้นอยู่กับ
|
Appear
|
ปรากฏ
|
Appearance
|
การปรากฏตัว
|
Prefer
|
ชอบ
|
Preference
|
การชอบพอ
|
-Ship ใช้เติมหลังคำนาม (common noun) เพื่อให้เป็นอาการนาม (Abstract noun) แบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ
1) เติม ship เพื่อแสดงสภาพการเป็นอยู่ หรือสถานภาพทางตำแหน่งหน้าที่ เช่น
Common noun
|
Abstract noun
|
Friend เพื่อน
|
Friendship ความเป็นมิตร
|
Owner เจ้าของ
|
Ownership ความเป็นเจ้าของ
|
King พระราชา
|
Kingship ความเป็นพระราชา
|
Member สมาชิก
|
Membership สมาชิกสภาพ
|
2) เติม ship ท้ายคำนามตัวนั้น เพื่อแสดงความชำนาญ คล่องแคล่ว และทักษะ เช่น
Common noun
|
Abstract noun
|
Workman คนงาน
|
Workmanship ฝีมือ
|
Author นักประพันธ์
|
Authorship การประพันธ์
|
Musician นักดนตรี
|
Musicianship ความเป็นมานักดนตรี
|
Scholar นักเรียน
|
Scholarship ทุนการเล่าเรียน
|
-ee, -e ใช้เติมหลังกริยา หลังนาม หรือคุณศัพท์ เพื่อให้เป็นตำนาน อันหมายถึงผู้กระทำ (doer) เช่น
Verb
|
|
Noun
|
|
Absent (adj.)
|
ไม่อยู่
|
Absentee
|
ผู้ไม่อยู่
|
Devote (v.)
|
อุทิศให้
|
Devotee
|
ผู้อุทิศให้
|
Refuge (n.)
|
ที่พัก
|
Refugee
|
ผู้อพยพ
|
Trust (v.)
|
ไว้ใจ, เชื่อถือ
|
Trustee
|
ผู้พิทักษ์ทรพัย์สิน
|
-an, -n ใช้เติมหลังนามที่เป็นชื่อเฉพาะ (proper noun) เพื่อให้หมายถึงบุคคลหรือภาษาของ Proper Noun ตัวนั้น เช่น
Proper noun
|
หมายถึงบุคคลหรือภาษา
|
Africa อัฟริกา
|
African ชาวอัฟริกัน
|
America อเมริกา
|
American ชาวอเมริกัน
|
Asia ทวีปเอเชีย
|
Asian ชาวเอเชีย
|
-an ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อทำให้เป็นนามผู้กระทำการนั้นๆ เช่น
Assist ช่วย
|
Assistant ผู้ช่วย
|
Serve รับใช้
|
Servant คนรับใช้
|
-ent ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อให้เป็นคำนาม เช่น
Verb
|
Noun
|
Study ศึกษา
|
Studet นักศึกษา
|
Correspond โต้ตอบทางจดหมาย
|
Correspondent ผู้โต้ตอบทางจดหมาย
|
Superindend ควบคุม
|
Superindendent ผู้ควบคุม, ผู้อำนวยการ
|
-er, -or ใช้เติมข้างหน้าคำกริยา เพื่อทำให้เป็นนามหมายถึง ผู้กระทำการ (doer) นั้นๆ เช่น
Verb
|
Noun
|
Run วิ่ง
|
Runner ผู้วิ่ง
|
Employ จ้าง
|
Employer ผู้ว่าจ้าง
|
Advise ปรึกษา
|
Adviser ที่ปรึกษา
|
Act แสดง
|
Actor ผู้แสดง
|
Visit มาเยี่ยม
|
Visitor ผู้มาเยี่ยม
|
Govern ปกครอง
|
Governor ผู้ว่าราชาการ
|
-ese ใช้เติมหลัง Proper Noun ที่เป็นชื่อเมืองหรือชื่อประเทศ ชื่อเมื่อเติม –ese แล้วจะมีความหมายว่า เป็นชาวเมืองหรือชาวประเทศนั้นๆ เช่น
Proper Noun
|
เป็นชาวเมืองหรือภาษา
|
Burma พม่า
|
Burmese ชาวพม่า
|
China ประเทศจีน
|
Chinese ชาวจีน, ภาษาจีน
|
Japan ประเทศญี่ปุ่น
|
Japanese ชาวญี่ปุ่น
|
Siam สยาม
|
Siamese ชาวสยาม
|
-ess ใช้เติมหลังคำนามหรือกริยา เพื่อให้เป็นนามที่เป็นเพศหญิง (หรือสัตว์ตัวเมีย) เช่น
Act (v.) แสดง
|
Actress ผู้แสดง
|
Host (n.) เจ้าภาพ
|
Hostress เจ้าภาพผู้หญิง
|
Millionaire (n.) เศรษฐี
|
Millionairess เศรษฐินี
|
-ism ใช้เติมหลังคำกริยาบ้าง คุณศัพท์บ้าง และนามบ้าง เพื่อบอกถึงความเป็นอาการนาม บอกถึงลักษณะนิสัย และบอกถึงลัทธิ คำสั่งสอนหรือตัวการ ความเคลื่อนไหว เช่น
Criticize (v.) วิจารณ์
|
Criticism การวิพากย์วิจารณ์
|
Baptize (v.) รดน้ำมนต์
|
Baptism การรดน้ำมนต์
|
Real (adj.) จริง
|
Realism ลักษณะที่เหมือนจริง
|
Buddha (n.) พระพุทธ
|
Buddhism ศาสนาพุทธ
|
Commune (n.) ตำบล
|
Communism ลัทธิคอมมิวนิสต์
|
Social (adj.) สังคม
|
Socialism ลัทธิสังคมนิยม
|
National (adj.) แห่งชาติ
|
Nationalism ลัทธิชาตินิยม
|
-ist ใช้เติมหลังคำนาม เพื่อบอกถึง ผู้ปฏิบัติตามกิจนั้น หรือเป็นผู้เกี่ยวข้องกับกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น
Piano เครื่องเล่นเปียโน
|
Pianist นักเล่นเปียโน
|
Art ศิลปะ
|
Artist นักจิตรกร
|
Buddha พระพุทธ
|
Buddhist ชาวพุทธ
|
Motor รถยนต์
|
Motorist นักขับรถยนต์
|
Novel นวนิยาย
|
Novelist ผู้แต่งนิยาย
|
Drama ละคร
|
Dramatist นักแต่งบทละคร
|
-ty, ity ใช้เติมท้ายคำคุณศัพท์ เพื่อทำให้เป็นคำนาม เช่น
Adjective
|
Noun
|
Difficult ยาก, ลำบาก
|
Difficulty ความยากลำบาก
|
Honest ซื่อสัตย์
|
Honesty ความซื่อสัตย์
|
Certain แน่ใจ
|
Certainty ความแน่ใจ
|
Regular สม่ำเสมอ
|
Regularity ความสม่ำเสมอ
|
Pure บริสุทธิ์
|
Purity ความบริสุทธิ์
|
Humid ชื้น
|
Humidity ความชื้น
|
Electric มีไฟฟ้า
|
Electricity การไฟฟ้า
|
Active กระทำ
|
Activity กิจกรรม
|
-ness ใช้เติมท้ายคำศัพท์ (Adjective) เพื่อทำให้เป็นคำนาม เช่น
Adjective
|
Noun
|
Happy สุข
|
Happiness ความสุข
|
Ill ป่วย
|
Illness ความไม่สบาย
|
Weak อ่อนแอ
|
Weakness ความอ่อนแอ
|
Thick หนา
|
Thickness ความหนา
|
Sad เสียใจ
|
Sadness ความเสียใจ
|
Kind กรุณา
|
Kindness ความกรุณา
|
-ery, -y ใช้เติมท้ายคำอื่น เพื่อทำให้เป็นคำนามประเภทบอกสภาวะการกระทำ, หรือสภาพการ เช่น
Brave กล้าหาญ
|
Bravery ความกล้าหาญ
|
Discover ค้นพบ
|
Discovery การค้นพบ
|
Deliver ส่ง
|
Delivery การส่ง
|
Rob ปล้น
|
Robbery การส่ง
|
Slave ทาส
|
Slavery ความเป็นทาส
|
-ing ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อให้เป็นคำนาม (verbal Noun) เช่น
Verb
|
Noun
|
Speak พูด
|
Speaking การพูด
|
Run วิ่ง
|
Running การวิ่ง
|
Swim ว่ายน้ำ
|
Swimming การว่ายน้ำ
|
Write เขียน
|
Writing การเขียน
|
-dom ใช้เติมหลังคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เพื่อบอกสภาวะ ขอบเขต อาณาจักร วง หรือ ลัทธิครอบงำ เช่น
Free อิสระ
|
Freedom เสรีภาพ
|
King พระราชา
|
Kingdom ราชอาณาจักร
|
The animal kingdom
|
อาณาจักรสัตว์
|
The vegetable kingdom
|
อาณาจักรพืช
|
The United Kingdom
|
สหราชอาณาจักร
|
Officaildom
|
วงข้าราชการ
|
-hood ใช้เติมหลังนาม เพื่อเป็นนามอันแสดงถึงสภาพหรือลักษณะ, ลำดับขั้น ภาวะของชีวิต มีสำเนียงแปลว่า “ความ, วัย, สมัย, ภาวะ” เช่น
Noun
|
Abstract Noun
|
Boy เด็ก
|
Boyhood วัยเด็ก
|
Man ชาย
|
Manhood ความเป็นชาย
|
Priest พระ
|
Priesthood ความเป็นพระ
|
Child เด็ก
|
Childhood วัยเด็ก
|
-ure ใช้เติมหลังคำกริยา เพื่อทำให้เป็นนาม แสดงถึงการกระทำ วิธีการ หรือกรรมวิธี เช่น
Verb
|
Noun
|
Close ปิด
|
Closure การปิด
|
Please พอใจ
|
Pleasure ความยินดี
|
Legislate ออกกฎหมาย
|
Legislature สภานิติบัญญัติ
|
Enclose สอดไปใน
|
Enclosure ส่งแนบติดไป
|
-man ใช้เติมข้างหลังนาม เพื่อให้เป็นนามซึ่งหมายถึงบุคคลที่เป็นผู้อาศัยอยู่ แปลว่า “ชาว” เช่น
English อังกฤษ
|
Englishman ชาวอังกฤษ
|
Irish ไอริช
|
Irishman ชาวไอริส
|
Country ชนบท
|
Countryman ชาวชนบท
|
2) Verb-Forming Suffixes ได้แก่ “ปัจจัย (หรือ Suffix) ที่เติมลงไปข้างท้ายคำแล้วทำให้คำนั้นๆ เป็นกริยา (Verb) ขึ้นมา” ได้แก่ปัจจัยต่อไปนี้คือ
-ate
|
-ize
|
-en
|
-s, -es
|
-ify
|
-ed
|
มีรายละเอียดการเติมดังต่อไปนี้
|
-ate ใช้เติมท้ายคำนาม เพื่อทำให้คำนั้นเป็นกริยา เช่น
Noun
|
Verb
|
Captive นักโทษ
|
Captivate จับตัว, ยั่วยวน
|
Origin ที่เกิด
|
Originate เริ่มต้น
|
Motive แรงกระตุ้น
|
Motivate กระตุ้น
|
Facility ความสะดวกสบาย
|
Facilitate ทำให้เกิดความสบาย
|
-en ใช้เติมท้ายคำคุณศัพท์ เพื่อทำให้เป็นคำกริยา มีความหมายว่า “ทำให้ (มีคุณสมบัติอย่าง คุณศัพท์ตัวนั้น)” เช่น
Adjective
|
Verb
|
Soft นุ่ม
|
Soften ทำให้นุ่ม
|
Deep ลึก
|
Deepen ทำให้ลึก
|
Black ดำ
|
Blacken ทำให้ดำ
|
Wide กว้าง
|
Widen ทำให้กว้าง
|
Sad เศร้าโศก
|
Sadden ทำให้เศร้าโศก
|
อนึ่ง –en ยังใช้เติมหลัง Abstract Noun ที่แปลงรูปมาจากคุณศัพท์ได้ด้วย เพื่อให้คำ Abstract noun นั้นเป็นกริยา เช่น
Adjective
|
Abstract Noun
|
Verb
|
Long ยาว
|
Length ความยาว
|
Lengthen ทำให้ยาว
|
High สูง
|
Height ความสูง
|
Heighten ทำให้สูง
|
-ify ใช้เติมท้ายคำนาม เพื่อให้เป็นกริยา มีความหมายว่า “ทำให้เป็นเช่นนั้น” เช่น
Noun
|
Verb
|
Beauty ความงาม
|
Beautify ทำให้สวยงาม
|
Person บุคคล
|
Personify ทำให้เป็นบุคคล
|
Simple ง่าย
|
Simplify ทำให้ง่าย
|
Class ชั้น
|
Classify ทำให้เป็นชั้น
|
Just ยุติธรรม
|
Justify ทำให้ยุติธรรม
|
อนึ่ง คำนามที่เติม ify ลงไปแล้วเป็นกริยานั้น เราสามารถที่จะเติม –ification ลงไปเพื่อให้เป็นคำนามต่อไปได้อีกเช่น
Noun
|
Verb
|
Noun
|
Class ชั้น
|
Classify แบ่งชั้น
|
Classification การแบ่งชั้น
|
-ize ใช้เติมท้ายคำนาม เพื่อให้เป็นคำกริยา มีความหมายว่า “ทำให้มีสภาพเหมือนคำนามนั้น” เช่น
Noun
|
Verb
|
Economy การประหยัด
|
Economize ทำให้เกิดการประหยัด
|
Vapor ไอน้ำ
|
Vaporize ทำให้เป็นไอน้ำ
|
Harmony เข้ากันได้
|
Harmonize ทำให้เข้ากันได้
|
Colony อาณานิคม
|
Colonize ทำให้เป็นเมืองขึ้น
|
-s, -es ใช้เติมลงหลังกริยาที่มีรูปเป็น Present Simple Tense ในกรณีที่ประธาน ของกริยาตัวนั้นเป็นเอกพจน์หรือเป็นบุรุษที่ 3 เอกพจน์ เช่น
The boy plays the guitar well.
เด็กคนนี้เล่นกีต้าร์ได้ดี
She washes her skirt by herself.
หล่อนซักกระโปรงของหล่อนด้วยตัวเธอเอง
-ed ใช้เติมหลังคำกริยาที่ไม่มีรูปผัน เมื่อต้องการให้เป็น Past Tense เช่น
Present Tense
|
Past Tense
|
Want ต้องการ
|
Wanted ต้องการแล้ว
|
Work ทำงาน
|
Worked ทำงานแล้ว
|
Play เล่น
|
Played เล่นแล้ว
|
3.3) Adjective-Forming Suffixes ได้แก่ “ปัจจัยที่เติมท้ายคำใดแล้ว ทำให้คำนั้นมีรูปเป็นคุณศัพท์ (Adjective)” ได้แก่ปัจจัยต่อไปนี้
-able, -ible
|
-en, -n
|
-less
|
-al, -ial
|
-er, -r, -est, -st
|
-like
|
-an, -n
|
-ese
|
-ly
|
-ant, -ent
|
-fold
|
-most
|
-ary, -ory
|
-ful
|
-y
|
-ous
|
-ing
|
-some
|
-ative
|
-ish
|
-word
|
-ed
|
-ive, -ative
|
-ular
|
แต่ละตัวมีวิธีใช้นำหน้าคำอื่นได้ดังต่อไปนี้
-able, -ible ใช้เติมหลังคำนาม เพื่อให้เป็นคุณศัพท์บอกความสามารถ หรือบอกลักษณะ เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Fashion
|
ทันสมัย
|
Fashionable
|
ทันสมัย, หรูหรา
|
Response
|
ตอบสนอง
|
Responsible
|
รับผิดชอบ
|
Knowledge
|
ความรู้
|
Knowledgeable
|
รอบรู้
|
Sense
|
ความรู้สึก
|
Sensible
|
เหมาะสม
|
บางครั้งอาจเติมท้ายคำกริยาก็ได้ เช่น
Eat
|
กิน
|
Eatable
|
พอกินได้
|
Read
|
อ่าน
|
Readable
|
พออ่านได้
|
Wash
|
ซัก
|
Washable
|
พอซักได้
|
Reduce
|
ลด (ราคา)
|
Reducible
|
พอลดได้
|
-al, -ial ใช้เติมหลังคำนาม เพื่อทำให้เป็นคำคุณศัพท์ เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Nature
|
ธรรมชาติ
|
National
|
แห่งธรรมชาติ
|
Nation
|
ชาติ
|
National
|
แห่งชาติ
|
Education
|
การศึกษา
|
Educational
|
เกี่ยวกับการศึกษา
|
Industry
|
อุตสาหกรรม
|
Industrial
|
เกี่ยวกับอุตสาหกรรม
|
Commerce
|
การค้า
|
Commercial
|
ทางการค้า
|
Resident
|
ผู้ขออยู่อาศัย
|
Residential
|
เกี่ยวกับที่พัก
|
-an, -n ใช้เติมหลังคำนาม เพื่อให้เป็นคุณศัพท์แปลว่า “เกี่ยวกับ, ชาว, เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Asia
|
ทวีปเอเชีย
|
Asian
|
ชาวเอเชีย
|
America
|
ประเทศอเมริกา
|
American
|
คนอเมริกัน
|
Africa
|
อัฟริกา
|
African
|
ชาวอัฟริกัน
|
หมายเหตุ : คำที่กล่าวมานี้จะเป็น Adjective ก็ต่อเมื่อใช้ประกอบนามเท่านั้น หากใช้แต่มันโดดๆ ก็จะเป็นนามไป เช่น
John is an American, (noun)
จอห์นเป็นคนอเมริกัน
I like the American movie. (adj.)
ผมชอบภาพยนตร์เกี่ยวกับคนอเมริกัน
-ant, -ent ใช้เติมหลังกริยา เพื่อให้เป็นคำคุณศัพท์ เช่น
Verb
|
|
Adjective
|
|
Reside
|
อาศัยอยู่
|
Resident
|
ผู้อาศัยอยู่
|
Ignore
|
เพิกเฉย
|
Ignorant
|
โง่เขลา
|
Differ
|
แตกต่าง
|
Different
|
ต่างจาก
|
Indulge
|
มั่วสุมอยู่กับ
|
Indulgent
|
ซึ่งตามใจ
|
-ary, -ory ใช้เติมท้ายคำนามบ้าง ท้ายคำกริยาบ้าง เพื่อให้เป็นคุณศัพท์ (Adjective) เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Discipline (n.)
|
วินัย
|
Disciplinary
|
เกี่ยวกับวินัย
|
Advise (v.)
|
แนะนำ
|
Advisory
|
เป็นคำตักเตือน
|
Prime (adj.)
|
แรก
|
Primary
|
เบื้องต้น
|
-ous ใช้เติมท้ายคำนาม เพื่อให้เป็นคุณศัพท์ มีความหมายว่า “ซึ่งเต็มไปด้วย, ซึ่งมี” เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Humour
|
ความขบขัน
|
Humourous
|
มีอารมณ์ขัน
|
Danger
|
อันตราย
|
Dangerous
|
มีอันตราย
|
Poison
|
ยาพิษ
|
Poisonous
|
มียาพิษ
|
Marvel
|
สิ่งมหัศจรรย์
|
Marvelous
|
น่ามหัศจรรย์
|
-ative ใช้เติมหลังคำกริยาบ้าง, หลังคำนามบ้าง เพื่อให้เป็นคุณศัพท์ เช่น
Verb
|
|
Adjective
|
|
Illustrate (v.)
|
สาธิต
|
Illustrative
|
มีภาพประกอบ
|
Quantity (n.)
|
ปริมาณ
|
Quantitative
|
มีจำนวน
|
Talk (v.)
|
พูด
|
Talkative
|
ช่างพูด, ช่างคุย
|
Cause (v.)
|
มีสาเหตุจาก
|
Causative
|
เป็นเหตุแห่ง
|
-ed ใช้เติมหลังคำนาม เพื่อใช้เป็นคุณศัพท์ แสดงความหมายทำนองว่า “มีลักษณะของ” เช่น
Verb
|
|
Adjective
|
|
Disease
|
โรคภัย, เชื้อโรค
|
Diseased
|
มีโรค
|
Talent
|
ปัญญา
|
Talented
|
มีความสามารถพิเศษ
|
หมายเหตุ : บางครั้งอาจเติมที่ท้ายกริยา แล้วนำมาใช้อย่างคุณศัพท์ก็ได้ ดังคำว่า
Fry fired fried (ผัด) เช่น
I want to eat fried rice. ผมต้องการทานข้าวผัด
Boil boiled boiled (ต้ม, เดือด) เช่น
She wants to drink boiled water.
หล่อนต้องการดื่มน้ำต้ม
-en, -n ใช้เติมหลังนาม เพื่อทำให้นามนั้นเป็นคุณศัพท์แปลว่า “ทำด้วย” หรือ “มีลักษณะเหมือน” เช่น
Noun
|
|
Adjective
|
|
Wood
|
ไม้
|
Wooden
|
ทำด้วยไม้
|
Gold
|
ทอง
|
Golden
|
ทำด้วยทอง
|
Silk
|
ไหม
|
Silken
|
ทำด้วยไหม
|
Wool
|
ขนแกะ
|
Woolen
|
ทำด้วยขนแกะ
|
Leather
|
หนังสัตว์
|
Leathern
|
ทำด้วยหนังสัตว์
|
-er, -r ใช้เติมหลังคุณศัพท์ เพื่อทำคุณศัพท์นั้นให้เป็นขั้นกว่า (Comparative degree) เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ เช่น
ขั้นปกติ
|
|
ขั้นกว่า
|
|
Tall
|
สูง
|
Taller
|
สูงกว่า
|
Small
|
เล็ก
|
Smaller
|
เล็กกว่า
|
Large
|
ใหญ่
|
Larger
|
ใหญ่กว่า
|
Wise
|
ฉลาด
|
Wiser
|
ฉลาดกว่า
|